วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2551

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

พันธมิตรฯมีแกนนำ 5 คน ซึ่งเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลทักษิณ และรัฐบาลสมัคร มาอย่างต่อเนื่อง ดังต่อไปนี้

สนธิ ลิ้มทองกุล
พล.ต. จำลอง ศรีเมือง
สมศักดิ์ โกศัยสุข
พิภพ ธงไชย
สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
นอกจากนี้ยังมีผู้ประสานงานคนอื่นรวมถึงกลุ่มอื่น เช่น



สุริยะใส กตะศิลา เลขาธิการคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.)
ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ เลขาธิการสมัชชาประชาชนแห่งประเทศไทย
ทพ. ศุภผล เอี่ยมเมธาวี เลขาธิการสมัชชาประชาชนภาคอีสาน 19 จังหวัด และประธานกลุ่มภาคีมวลชนคนโคราชรักประชาธิปไตย
สุวิทย์ วัดหนู (เสียชีวิตไปแล้ว)
ดร. เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อดีต สว. กทม. ผู้ดำเนินรายการ "รู้ทันทักษิณ"
นพ. นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ อดีต สว. อุบลราชธานี
นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อดีต สว. นครราชสีมา
นายการุณ ใสงาม อดีต สว. บุรีรัมย์
เป็นต้น

กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย หลังเกิดการปฏิรูปโดย คปค.
หลังจากเกิดการปฏิรูปโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทางกลุ่มพันธมิตรฯซึ่งแผนการเดิม จะมีการเคลื่อนไหวครั้งใหญ่ เพื่อขับไล่รัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร ออกจากตำแหน่ง ก็ได้ยุติการชุมนุมไป แล้วทิศทางในปัจจุบันนี้คือ ทางแกนนำกลุ่มพันธมิตรทั้ง 5 คน ก็ได้ตัดสินใจแยกทางกันตามปกติ ยุติการเคลื่อนไหวแล้ว แต่ก็ยังมีการจับตาทางฝ่ายของอดีตนายกรัฐมนตรีอยู่ เพื่อไม่ให้อดีตนายกรัฐมนตรีรวมทั้งคณะรัฐมนตรีในพรรคไทยรักไทย กลับมาเป็นรัฐบาลอีก

กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ช่วงรัฐบาลสมัคร 1
กลุ่มพันธมิตรฯ มองว่า สมัคร สุนทรเวช เป็นนอมินีของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร จึงได้ประชุมกันและเริ่มมีความเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านรัฐบาลสมัคร 1 ที่ผ่านมากลุ่มพันธมิตรฯ ได้มีการออกแถลงการณ์พร้อมทั้งมีการจัดชุมนุมอย่างต่อเนื่อง

แถลงการณ์ฉบับที่ 1 คำเตือนก่อนเกิดกลียุค
แถลงการณ์ฉบับที่ 2 กลียุคมาแล้ว
แถลงการณ์ฉบับที่ 3 เคลื่อนไหวครั้งที่ 1 : ต้านเผด็จการทุนนิยมสามานย์และรัฐตำรวจ
แถลงการณ์ฉบับที่ 4 เรื่อง คัดค้านและประณามการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อลบล้างความผิดของตนเองและพวกพ้อง
แถลงการณ์ฉบับที่ 5 พร้อมต่อต้านอาชญากรประชาธิปไตยล้มล้างรัฐธรรมนูญฟอกความผิดให้ตัวเอง
แถลงการณ์ฉบับที่ 6 เรื่อง ต่อต้านรัฐประหารเงียบ
แถลงการณ์ฉบับที่ 7 กำหนดการสัมมนาประชาชน - ติดอาวุธทางปัญญา “ยามเฝ้าแผ่นดินสัญจร” ครั้งที่ 2
แถลงการณ์ฉบับที่ 8 พันธมิตรฯ ชี้ “หุ่นเชิด” ก่อวิกฤตเตือนแก้ รธน.เป้าหมายอันตราย
แถลงการณ์ฉบับที่ 9 ชุมนุมใหญ่ต่อต้านการล้มล้างรัฐธรรมนูญ
แถลงการณ์ฉบับที่ 10 "เคลื่อนไหวต่อเนื่องเพื่อกำจัดผู้ล้มล้างรัฐธรรมนูญ"
แถลงการณ์ฉบับที่ 11 "โค่นระบอบทักษิณ ไล่รัฐบาลอันธพาลหุ่นเชิด"
แถลงการณ์ฉบับที่ 12 "ประกาศจุดยืนต่อกรณีรัฐบาลจะสลายการชุมนุม"
แถลงการณ์ฉบับที่ 13 "ประณามนายกรัฐมนตรีหุ่นเชิด"
แถลงการณ์ฉบับที่ 14 “พันธมิตรฯ” แถลงเคลื่อนขบวนด้วยความสงบ-อหิงสา-ปราศจากอาวุธ
ลำดับเหตุการณ์การชุมนุมต้านรัฐบาลสมัคร

ในคืนวันศุกร์ที่ 23 พฤษภาคม 2551 นายสนธิ ลิ้มทองกุล ได้ออกมากล่าวในรายการยามเฝ้าแผ่นดินว่า การชุมนุมในวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม 2551 นี้ เป็นการต่อสู้ครั้งสุดท้าย และเรียกร้องให้ประชาชนออกมาร่วมชุมนุมกับพันธมิตรจนถึงที่สุด[1]
หลังจากการชุมนุมตั้งแต่วันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม 2551 จนกระทั่งเคลื่อนย้ายมาชุมนุมบนถนนราชดำเนินนอกที่ สะพานมัฆวานรังสรรค์ ต่อมาในวันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน 2551 พันธมิตรฯ ก็ได้ใช้ยุทธศาสตร์ดาวกระจาย สงคราม 9 ทัพฝ่าแนวป้องกันของตำรวจเข้าไปถึงบริเวณสนามม้านางเลิ้งได้[2] ต่อมาจึงย้ายการปราศรัยจากเวทีที่สะพานมัฆวานฯ มาที่บริเวณสะพานชมัยมรุเชฐ เพื่อให้เวทีปราศรัยเข้าใกล้ทำเนียบรัฐบาลเพื่อกดดันรัฐบาล[3]
แกนนำชุดที่สอง
หลังจากปฏิบัติการเป่านกหวีดวันที่ 26 สิงหาคม 2551 พันธมิตรฯ ได้เข้าบุกยึด NBT และสถานที่ราชการหลายแห่งจนสุดท้ายเข้ายึดและชุมนุมที่หน้าทำเนียบรัฐบาล ส่งผลให้รัฐบาลยื่นเรื่องฟ้องศาลเพื่อออกหมายจับแกนนำ รวมทั้งนาย สุริยะใส กตะศิลา, เทิดภูมิ ใจดี, อมร อมรรัตนานนท์ และ ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์[4] ต่อมาพันธมิตรฯ จึงได้มีการประกาศแกนนำชุดที่สองประกอบด้วย สาวิทย์ แก้วหวาน เลขาธิการสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) นายศิริชัย ไม้งาม ประธานสหภาพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และนายสำราญ รอดเพชร อดีตผู้สมัคร ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ มานำการเคลื่อนไหวของกลุ่มพันธมิตรต่อไป หากแกนนำทั้ง 5 คนถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุม[5]

พัลลภ ปิ่นมณี พร้อมเป็นแกนนำหาก จำลอง ศรีเมือง ถูกจับ[6]

โครงสร้างพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ภาคเหนือ
กลุ่มพันธมิตรพิษณุโลก มีนายภูริทัต สุธาธรรม เป็นแกนนำ[7]
ชุมนุมลุ่มน้ำภาคเหนือตอนล่าง ประกอบด้วยประชาชนจากกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง อาทิเช่น ตาก สุโขทัย พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี ฯลฯ[8]
ภาคตะวันออก
กลุ่มพันธมิตรภาคตะวันออก มีนายสุทธิ อัชฌาศัย เป็นประธานเครือข่าย ประกอบด้วยประชาชนจากอำเภอต่างๆ ในเขตจังหวัดชลบุรี อาทิเช่น อ.เมือง อ.พนัสนิคม อ.ศรีราชา อ.บ้านบึง อ.สัตหีบ อ.บางละมุง อ.บ่อทอง อ.หนองใหญ่ อ.พานทอง อ.เกาะสีชัง รวมถึงประชาชนจากจังหวัด ระยอง ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแก้ว จันทบุรี ตราด[9]
กลุ่มพันธมิตรฯ พัทยา-นาเกลือ-บ้านบึง-พนัส มีนายยงยุทธ เมธาสมภพ เป็นประธานเครือข่าย[10]
คณะทำงานพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตยจังหวัดเลย มี นายหินชนวน อโศกตระกูล เป็นแกนนำ[11]
ภาคอีสาน
สมัชชาประชาชนเพื่อประชาธิปไตยแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น มีนางเครือมาศ นพรัตน์ เป็นประธานสมัชชาประชาชนฯ และนายเธียรชัย นนยะโส เป็นรองประธานฯ[12]
สมัชชาประชาชนภาคอีสานจังหวัดบุรีรัมย์ มีนางสำเนียง สุภัณพจน์ เป็นประธาน มีแนวร่วมเป็นองค์กรเครือข่าย 18 องค์กร[13]
ภาคใต้
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยสตูล มี นางอุดมศรี จันทร์รัศมี[14]และ อ.ประโมทย์ สังหาร[15] เป็นแกนนำ
สมัชชาภาคใต้ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง (กำลังก่อตั้ง)[16]





อย่างไรก็ตามกระผมอยากให้ ใช้การเจรจาด้วยสันติวิธีในการชุมนุมไม่อยากเห็นคนไทยทะเลาะกันเอง ควรจะหันหน้าปรึกษากันเพื่อนำแนวทางไปแก้ปัญหาต่างๆต่อไป
เพื่อประเทศไทยจะได้พัฒนาอย่างวยั่งยืน

Allies, Army pile pressure on PM

The People Power Party's key coalition partners called for an urgent meeting Friday night, while Army chief Gen Anupong Paojinda rejected Prime Minister Samak Sundaravej's plan to declare a state of emergency.


Although the coalition allies reportedly reaffirmed their support for Samak for the moment, they covered all possible solutions at the urgent meeting, including a proposal for him to either resign or dissolve the House of Representatives.


There were reports that Anupong also made both those suggestions in a private meeting with Samak, a source said. This, however, could not be confirmed.


Anupong and Samak met privately after the premier, who is also defence minister, met the Army's top brass at the Thai Armed Forces headquarters.


Anupong earlier Friday also ruled out a coup, saying it was not a way to solve the current crisis.


The coalition partners held the emergency meeting at Chart Thai leader Banharn Silapaarcha's residence late Friday night, during which they discussed a proposal for Samak to resign, instead of dissolving the House of Representatives, according to sources. However, a TV report said that after the heated debate, the coalition partners agreed to continue backing Samak.


Deputy Prime Minsiter and senior Chart Thai member Sanan Kachornprasart was said to be the one who "coordinated" the meeting.


Samak earlier Friday did not rule out the use of the controversial Emergency Act, saying he wanted to wait until after Saturday's opening ceremony for a government-sponsored event to be presided over by HRH Crown Prince Maha Vajiralongkorn.


Meanwhile, Samak's People Power Party (PPP) on Friday set up a war room at Siam City Hotel, with PM's secretary general Thirapol Noplumpa and Newin Chidchob as key figures.


The ruling party plans to bring in a large number of supporters from the provinces to Sanam Luang to help shore up the government being battered by the People's Alliance for Democracy.


If the situation worsened, the government will also consider dissolving Parliament, said PPP sources.


Samak said the government had relocated the event, organised to boost national unity, from Government House to Suan Amporn.


Samak's statement contradicted that of Army chief General Anupong Paochinda, who told reporters separately that neither a coup nor a declaration of a state of emergency would solve the current crisis.


Anupong, trying to play it safe, as any move could prove to be costly politically, called on all parties to reconcile their differences.


The two men took part in a Defence Council meeting along with other military top brass and senior security officers. It lasted for more than two hours.


Speaking to reporters afterwards, Samak rhetorically asked the People's Alliance for Democracy (PAD): "Where do you people think you're going with all of this? Are you Thai?"


The embattled premier was visibly upset and shouted out his answers to waiting reporters.


Trying hard to put himself in a positive light but unable to hide his anger, Samak told reporters some security officials wanted him to declared a state of emergency but that he wanted to wait until after today's event before considering the matter.


The statement was the first time that Samak had hinted at possibly changing his mind. Up until yesterday's meeting, Samak consistently ruled out the use of force against the PAD and its tens of thousands of street protest?ers, who have shown great will?ingness to clash with authorities if need be. Scuffles between police and protesters broke out yesterday as hundreds of riot police entered Government House. PAD protesters claimed victory in pushing them out of the compound, but Samak told reporters he was the one who had ordered the officers to retreat.


Yet Samak vowed not to quit.


"I don't want to announce a state of emergency, because that would destroy the atmosphere [of the event]," Samak said. "I'll hold off until tomorrow. It's a grand event."


The PAD has defied court orders calling on it to pull out of Government House. Arrest warrants have been issued against the PAD leaders on charges of treason.


Samak reminded reporters he was in for the long haul, saying: "Arrest warrants last for 10 years. I still have time to go after them."


Giving a traditional wai, he pleaded with the public to stay at home and not join the PAD protesters.


Samak also cancelled a state visit to Japan scheduled for next Tuesday to Thursday.

วันศุกร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Should parents be responsible if their children behave badly?

Thailand has a lot of crimes caused by children. But if parents should be responsibilities, will be better.

Every day we watch TV or read newspaper. We will see many headlines of social problem and crimes by children. Refer to Thairat newspaper on the sixth of August 2008.At the headlines said “Warning parents be carefully with death game. It can be crimes”. So I will give you some idea what parents have to do if they don’t have responsibilities.

The first idea if parents no time is let their children study at boarding school. Example Sirintorn Nakorn Phathom school. And another idea is find out for free time to talk, to communicate together. Example when watch TV tried to talk about movie which one is good or bad and etc.

However if parents have responsibilities, it be the best ways for the children. May be in the future, will not see a lot of crimes again.

Refer: Thairat newspaper on the sixth of Auggust 2008